Translate

วันพุธที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การฝึกอบรมวิทยากรกระบวนการ CBDRM สำหรับบุคคลภายนอกและเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานอื่นๆ ณ จังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน - 5 กรกฎาคม 2556 (CBDRM Facilitator Training for Non-DDPM Staff at Khao Yai on 30 June – 5 July 2013)

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับโครงการพัฒนาศักยภาพในการจัดการภัยพิบัติในประเทศไทย ได้มีการหารือและพิจารณาวิธีการขยายกิจกรรม CBDRM ในประเทศไทยตั้งมีการจัดฝึกอบรมวิทยากรกระบวนการ CBDRM ครั้งล่าสุดสุดเมื่อเดือนธันวาคม 2555 โดยได้ข้อสรุปว่าจะมีการจัดการฝึกอบรมวิทยากรกระบวนการ CBDRM สำหรับบุคคลภายนอกและเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานอื่นๆขึ้น

การฝึกอบรมนี้ได้เชิญผู้เข้ารับการฝึกอบรมทั้งหมด 75 คน โดยแต่ละท่านมีตวามรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่แตกต่างกันออกไป: ซึ่งผู้เข้าร่วมประชุมประกอบไปด้วยตัวแทนจากหมู่บ้าน ครู,อาจารย์, เจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เกษียณอายุแล้ว, เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานเอ็นจีโอ ,ผู้สื่อข่าวสื่อและอื่น ๆ

หลักสูตรการฝึกอบรมนี้ไม่ได้สอนเพียงแต่เทคนิคในการอำนวยความสะดวกของกิจกรรม CBDRM เท่านั้น แต่ยังมีมุมมองของการป้องกัน บรรเทาและการจัดการภัยพิบัติด้วย  ในทุกช่วงเวลาของการฝึกอบรมได้มีการบันทึกวิดีโอไว้ ซึ่งจะถูกนำมาเป็นส่วนหนึ่งของสื่อประกอบการฝึกอบรมกิจกรรม CBDRM และวิทยากรอำนวยการ CBDRM ที่ผ่านการฝึกอบรมครั้งนี้จะสามารถสนับสนุนกิจกรรม CBDRM ในภูมิภาคของตัวเองได้


The CBDRM Facilitator Training for non-DDPM staff was conducted on 30 June – 5 July 2013 at Khao Yai in Nakhon Ratchasima province.

DDPM and PCDDM-2 (The Project on Capacity Development in Disaster Management Phase-2) have discussed and considered how to expand CBDRM activities in Thailand since the last CBDRM Facilitator Workshop in December 2012.  Finally, both sides agreed to cultivate non-DDPM staff as CBDRM Facilitators.

This training course invited 75 participants.  The participants had variety of experiences: the participants consist of village representatives, school teachers, retired DDPM staff, NGO staff, media reporters, and so on.

This training course provided not only facilitating technique of CBDRM activities but also perspective of disaster prevention, mitigation, and management.  All session of the training was recorded and the recorded video clip will constitute a portion of CBDRM Facilitators teaching material.


Trained CBDRM facilitators in this training will support CBDRM activities in their own region.  DDPM is planing to utilize these human resources.




สถานที่ฝึกอบรม
The training venue
การฝึกอบรมเรื่องคำอธิบายชุมชน
Training of Community Description
ทำแผนที่เสี่ยงภัย
Creating Hazard Map
นำเสนอเรื่องการเตรียมการแผนที่เสี่ยงภัย
Presentation of prepared Hazard Map

สร้างแผนที่เสี่ยงภัยโดยใช้การวิเคราะห์ความความล่อแหลม
Creating Risk Map with vulnerabiliry analysis
สร้างแผนที่เสี่ยงภัยโดยใช้การวิเคราะห์ความความล่อแหลม
Creating Risk Map with vulnerability analysis
นำเสนอการจัดทำแผน CBDRM
Presentation of the CBDRM Planning

การฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะ
TTX (Table Top Exercise) Training

การอพยพแบบบทบาทสมมติ: การประชุมในระดับชุมชนเพื่อการตอบโต้ภัยพิบัติ
Evacuation Role Play: Community meeting on disaster response

การอพยพแบบบทบาทสมมติ: หน่วยปฐมพยาบาล
Evacuation Role Play: First aid team

การอพยพแบบบทบาทสมมติ: หน่วยค้นหา
Evacuation Role Play: Search and Rescue Team
ทบทวนการการอพยพแบบบทบาทสมมติ
Review of the Evacuation Role Play

วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การฝึกอบรมวิทยากรกระบวนการ CBDRM สำหรับเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 18 - 21 กุมภาพันธ์ 2556 (CBDRM Facilitator Training for DDPM Staff at Bangkok on 18 – 21 February 2013)

ตามที่โครงการพัฒนาศักยภาพในการจัดการภัยพิบัติในประเทศไทย ระยะที่ 2 ได้มีการจัดการฝึกอบรมวิทยากรกระบวนการ CBDRM ไปแล้วหลายรุ่น และตั้งแต่เกิดเหตุอุทกภัยตรั้งร้ายแรงในปีพ.. 2554 กิจกรรม CBDRM ได้รับการยอมรับมากขึ้น ในการนี้ทางโครงการพัฒนาศักยภาพในการจัดการภัยพิบัติในประเทศไทยตัดสินใจที่จะดำเนินการฝึกอบรมวิทยากรกระบวนการ CBDRM เพิ่มเติมขึ้นมาในปี 2556


หลักสูตรการฝึกอบรมที่ได้เพิ่มเติมในครั้งแรกนี้ได้ดำเนินการระหว่างวันที่ 18-21 กุมภาพันธ์ 2556 ที่โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพมหานคร มีเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากทั่วประเทศเข้ารับการฝึกอบรมทั้งหมดจำนวน 50 คน น้าที่ DDPM จากประเทศไทยเข้าร่วมการฝึกอบรมทั้งหมด หลังจากเสร็จสิ้นการฝึกอบรมแล้วเจ้าหน้าที่ที่เข้ารับการฝึกอบรมจะกลับไปยังจังหวัดของพวกเขาและจะเป็นผู้นำในการจัด​กิจกรรม CBDRM การฝึกอบรมที่ได้เพิ่มเติมในครั้งที่สองจะดำเนินการในช่วงเดือนกรกฎาคม 2556 สำหรับบุคคลภายนอกและเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานอื่นๆ



In accordance with the project design of PCDDM-2 (The Project on Capacity Development in Disaster Management Phase-2) had conducted several CBDRM Facilitator Trainings.  Since the importance of CBDRM activities is recognized more and more after the severe flood in 2011, PCDDM-2 decided to conduct additional CBDRM Facilitator Trainings in 2013.

The first additional training course was conducted in 18-21 February 2013 at Royal River Hotel at Bangkok.  50 DDPM staff from all Thailand participated the training.  After they come back their provinces, they will lead the CBDRM activities.  The second additional Training will be conducted in July 2013.  This training will be for non-DDPM staff.


ห้องฝึกอบรม
The classroom of the training

ช่วงการสอนหัวข้อ CBDRM
The classroom lecture about CBDRM

การฝึกทำการเตรียมแผนที่เสี่ยงภัย
Training of preparation of hazard map

การฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะ (Table Top Exercise) โดยใช้ดินน้ำมันเป็นแบบ
The TTX (Table Top Exercise) training with clay models

สถานการณ์สมมติของการอพยพ
The Scenario of Evacuation Role Play


การอพยพแบบบทบาทสมมติ: การประชุมร่วมกับชุมชน
Evacuation Role Play: Meeting of village community


การอพยพแบบบทบาทสมมติ: หน่วยปฐมพยาบาล
Evacuation Role Play: First Aid Team

การอพยพแบบบทบาทสมมติ: รายงานสถานการณ์ให้ผู้ใหญ่บ้านทราบ
Evacuation Role Play: Reporting to the village headman

ถ่ายภาพร่วมกัน
Group photo


การฝึกอบรม CBDRM ที่บ้านถ้ำตลอด ตำบลน้ำตก อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 4-8 กุมภาพันธ์ 2556 (CBDRM Workshop at Tham Talod Village in Nam Tok Sub-district, Tung Song District, Nakhon Sri Thammarat Province on 4-8 February 2013)

การฝึกอบรม CBDRM ที่ได้ดำเนินการที่บ้านถ้ำตลอดซึ่งเป็นหมู่บ้านในจังหวัดนครศรีธรรมราชเมื่อวันที่ 4-8 กุมภาพันธ์ 2556 วัตถุประสงค์หลักของการฝึกอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมในการเตือนภัยล่วงหน้าและวางแผนการอพยพของหมู่บ้าน หมู่บ้านนี้ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งทางโครงการพัฒนาศักยภาพในการจัดการภัยพิบัติในประเทศไทย ระยะที่ 2 ได้จัดกิจกรรมการศึกษาภัยพิบัติก่อนที่จะมีการฝึกอบรม CBDRM สถานที่จัดกิจกรรมในครั้งนี้จัดขึ้นอ..ต น้ำตกและโรงเรียนบ้านถ้ำตลอด คณะกรรมการด้านการจัดการภัยพิบัติของหมู่บ้านได้จัดกิจกรรมนี้ขึ้นและได้ทำการจัดเตรียมแผนแผนการจัดการภัยพิบัติของชุมชนไว้แล้ว

อาจารย์จากโรงเรียนบ้านถ้ำตลอดบางส่วนได้เข้าร่วมวางแผนและนักเรียนของโรงเรียนบ้านถ้ำตลอดได้เข้าร่วมการฝึกซ้อมการอพยพในกิจกรรมวันสุดท้าย โรงเรียนมีบทบาทสำคัญในการสร้างความตระหนักของการจัดการภัยพิบัติเป็นซึ่งเป็นที่ทราบกันดีในชุมชนนี้และนอกเหนือไปจากนั้นโรงเรียนและชุมชนนั้นทำงานร่วมมือเป็นอย่างดี

เมื่อผ่านขั้นตอนของการวางแผนและการทดสอบแผนแล้คณะะกรรมการพบว่ายังมีการขาดอุปกรณ์จำเป็นบางอย่างสำหรับการเตือนภัยและการอพยพ ซึ่งทางโครงการพัฒนาศักยภาพในการจัดการภัยพิบัติในประเทศไทยร่วมกับกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้ทำการสนับสนุนอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับชุมชนในภายหลัง


CBDRM Workshop was conducted at Tham Talod Village in Nakhon Si Thammarat Province on 4-8 February 2013.  The main objective of this workshop is to prepare the early warning and evacuation plan of the village.  This village suffers from flash flood sometimes.  PCDDM-2 (The Project on Capacity Development in Disaster Management Phase-2) has conducted some disaster education activities ahead of this CBDRM workshop.  The venue of this workshop was the office of Nam Tok Sub-district and Tham Talod elementary school.  The village disaster management committee was organized in this workshop and the disaster management plan of this community was prepared.

Some school teachers of Tham Talod elementary school joined the planning and school students joined the evacuation drill conducted at the last day.  Since the importance of the role of school in awareness raising of disaster management is well known in this community, school and community cooperate very well.

Through the process of planning and testing of the plan, the community committee found some lack of necessary equipment for early warning and evacuation.  The project and DDPM decided to contribute necessary support for the community later on.



วิทยากรอำนวยการ CBDRM จากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยรทำการสอนเกี่ยวกับ เครื่องวัดปริมาณน้ำฝน
DDPM CBDRM Facilitator gave instruction about rain gauge

รายละเอียดชุมชน: ถ้ำ บ้านถ้ำตลอดนล้อมรอบไปด้วยภูเขาและเผชิญหน้ากับภัยคุกคามอย่างอุทกภัย
Community Description: Tham Talod Village is surrounded by mountain and facing a threat of flash flood

ระบุองค์ประกอบความเสี่ยงในชุมชน
Identifying Vulnerable elements in the community

อธิบายถึงเกณฑ์ของการเตือนภัย
Clarifying the criteria of warning

ยืนยันแผน
Confirming the plan


Community Early Warning and Evacuation Plan

ประชุมคณะกรรมการหมู่บ้านเพื่อการซ้อมแผนอพยพ
Community committee meeting for evacuation drill

เตือนภัยโดยใช้กลอง
Warning with Drum

การเตรียมศูนย์อพยพ
Prepared evacuation shelter

การใช้วิทยุสื่อสารระหว่างหน่วยตอบโต้ภัยพิบัติ
Radio communication among disaster response team

ป้ายบอกทางให้การไปศูนย์อพยพ
Sign of direction of evacuation shelter


ตรวจระดับน้ำของแม่น้ำโดยใช้เสาไฝ่
River water level monitoring with bamboo pole

อพยพนักเรียน
Evacuating school children

ณ ศูนย์อพยพ
At the evacuation shelter

ถ่ายภาพหมู่ในการฝึกซ้อมอพยพ
Group photo at the evacuation drill

พิธีปิดโดยพ.ต.ท. ม.ล.กิติบดี ประวิตร ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย
Closing remarks by the Director of Disaster Prevention and Mitigation Promotion Bureau, Mr. Kitibodee Pravitra

ถ่ายภาพหมู่ร่วมกันในวันสิ้นสุดการฝึกอบรม
Group photo at the end of workshop

การฝึกอบรม CBDRM ที่บ้านม่วงสามปี ตำบลลี้ อำเภอลี้จังหวัดลำพูนวันที่ 24-25 มกราคม 2556 (CBDRM Workshop at Muangsampee Village in Li Sub-district, Li district, Lamphun Province on 24-25 January 2013)

ได้มีการฝึกอบรม CBDRM ที่บ้านม่วงสามปี ในจังหวัดลำพูนระหว่างวันที่ วันที่ 24-25 มกราคม 2556  การฝึกอบรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์อยู่ 2 ประการ คือ
1) หนึ่งคือการทบทวนกิจกรรม CBDRM และการเตรียมแผนการจัดการภัยพิบัติของชุมชน ในปี 2554 2) การแนะนำกิจกรรม CBDRM ในบ้านม่วงสามปี ให้กับท้องถิ่นจากภาคกลางที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยคั้งร้ายแรงเมื่อปี 2554 เข้าร่วมศึกษาดูงานในครั้งนี้

โครงการพัฒนาศักยภาพในการจัดการภัยพิบัติในประเทศไทย ระยะที่ 2 ได้ให้การสนับสนุนกิจกรรม CBDRM ในจังหวัดลำปางและลำพูนตั้งแต่ปี 2553 เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดและจังหวัดปทุมธานีได้เข้าร่วมสังเกตการณ์เพื่อศึกษาวิธีการจัดทำกิจกรรม CBDRM ในระดับหมู่บ้าน โดยงบประมาณในครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนจาก JICA ภายใต้โครงการการรับมือกับอุทกภัยสำหรับภาคการเกษตรไทย


ในเวลาเดียวกัน โรงเรียนบ้านม่วงสามปี ได้จัดกิจกรรมการศึกษาภัยพิบัติที่จะเพิ่มประสิทธิภาพของการฝึกอบรม CBDRM คณะกรรมการด้านการจัดการภัยพิบัติของหมู่บ้านและครูในโรงเรียนจะสนับสนุนซึ่งกันและกันเพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการภัยพิบัติของหมู่บ้าน



CBDRM Workshop was conducted at Muangsampee Village in Lamphun province on 24-25 January 2013.  This workshop had 2 objectives.  One is to review the CBDRM activities and the community disaster management plan prepared in 2011.  The other is to introduce the CBDRM activities in Muangsampee village to local authority staff in central region affected by the severe flood in 2011.  JICA PCDDM-2 (Project on Capacity Development in Disaster Management Phase-2) has supported the CBDRM activities in Lampang and Lamphun provinces since 2010.  This time, local authority staff of Phra Nakhon Si Ayutthaya Province and Pathum Thani Province attended the workshop to study how CBDRM activities are conducted in this village.  JICA was supporting these local authorities through the Project for flood countermeasures for Thailand agricultural sector.

At the same time, Muangsampee School conducted disaster education event to increase the effectiveness of the workshop.  Village disaster management committee and school teachers are supporting each other to develop the capacity in disaster management of the village.


The workshop was facilitated by officers of DDPM Lamphun Provincial Office

Village head explained the community disaster management plan prepared in 2011.

Members of the village disaster management committe explained the role of each response team .

A project staff of the Project for flood countermeasures for Thailand agricultural sector explained the objectives of the project.

The village head of central region introduced their community and described the specification of disaster there.

Muansampee school conducted disaster education event. ESAO officers also attended it.

The school principal and pupils

Disaster Management Plan of Muangsampee School (2011-2015)

The result of disaster education activities: Images of disasters drawn by the pupils. 

Disaster education textbooks prepared by DDPM and MOE

Photo copies of the hazard and risk map of Muangsampee village posted on the wall of the school

Firefighting training supported by DDPM and volunteer teams
Firefighting training supported by DDPM and volunteer teams

Hazard map of the school

First aid training supported by EMS (Emergency Medical Service) Volunteer teams

Training of tyrolean traverse

Warning with a manual siren and loud speakers

The village head giving warning information with a microphone and loud speakers 

Loud speakers in the village

Evacuating school children

Supporting evacuation of the elderly

Indicator of the route of evacuation shelter and evacuation route map

Speech of the school principal at the evacuation shelter in the evacuation drill